RD /S /Q "D:\Program\Testcopy" & xcopy C:\Program Files D:\Program\Testcopy /E /h
C:\Program Files = ต้นทางที่ต้องการ copy
D:\Program = ปลายทางที่ต้องการ copy
จริงๆเขียนเยอะกว่านี้ แต่จะอธิบายคร่าวๆ ประมาณจะทำ backup file server
โดยจะตั้งเวลาให้ run สคริป
ส่วนสคริปที่จะ run ก็ทำงานประมาณ ลบไฟล์เก่าทิ้ง และ เอาไฟล์ใหม่เข้ามา
วันอังคารที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556
install snmp
snmp
yum install net-snmp-utils net-snmp
chkconfig snmpd on
mv /etc/snmp/snmpd.conf /root
touch /etc/snmp/snmpd.conf
vi /etc/snmp/snmpd.conf
rocommunity public
yum install net-snmp-utils net-snmp
chkconfig snmpd on
mv /etc/snmp/snmpd.conf /root
touch /etc/snmp/snmpd.conf
vi /etc/snmp/snmpd.conf
rocommunity public
Video Conferece Install
Video Conferece Install
OS-> CentOS 6.4
Software -> Openmeeting
install JRE
===============
1. tar xzvf jre-7u45-linux-x64.tar.gz
2. mkdir -p -v /opt/java/64
3. mv jre1.7.0_45/ /opt/java/64/
4. update-alternatives --install "/usr/bin/java" "java" "/opt/java/64/jre1.7.0_45/bin/java" 1
5. update-alternatives --set java /opt/java/64/jre1.7.0_45/bin/java
install openmeeting
===============
1. wget http://www.sai.msu.su/apache/openmeetings/2.1.1/bin/apache-openmeetings-2.1.1.zip
2. mkdir /opt/openmeeting/
3. cd /opt/openmeeting/
4. unzip /root/apache-openmeetings-2.1.1.zip
5. ./red5.sh
http://ip-server:5080/openmeetings/install ทำการติดตั้งและตั้ง user password สำหรับ manage openmeeting
หลังจากนั้น ทำการ ใช้งานได้ปรกติครับ http://ip-server:5080/openmeetings
** ถ้าจะ shutdown red5
red5-shutdown .sh
และถ้า Start red5 แล้วมี error ลองแก้ไขไฟล์
vi /etc/hosts ให้ถูกต้องก่อนครับ แล้วลอง run red5.sh อีกที
OS-> CentOS 6.4
Software -> Openmeeting
install JRE
===============
1. tar xzvf jre-7u45-linux-x64.tar.gz
2. mkdir -p -v /opt/java/64
3. mv jre1.7.0_45/ /opt/java/64/
4. update-alternatives --install "/usr/bin/java" "java" "/opt/java/64/jre1.7.0_45/bin/java" 1
5. update-alternatives --set java /opt/java/64/jre1.7.0_45/bin/java
install openmeeting
===============
1. wget http://www.sai.msu.su/apache/openmeetings/2.1.1/bin/apache-openmeetings-2.1.1.zip
2. mkdir /opt/openmeeting/
3. cd /opt/openmeeting/
4. unzip /root/apache-openmeetings-2.1.1.zip
5. ./red5.sh
http://ip-server:5080/openmeetings/install ทำการติดตั้งและตั้ง user password สำหรับ manage openmeeting
หลังจากนั้น ทำการ ใช้งานได้ปรกติครับ http://ip-server:5080/openmeetings
** ถ้าจะ shutdown red5
red5-shutdown .sh
และถ้า Start red5 แล้วมี error ลองแก้ไขไฟล์
vi /etc/hosts ให้ถูกต้องก่อนครับ แล้วลอง run red5.sh อีกที
วันจันทร์ที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556
วิธีการ Converter VMware ESX
วิธีการ Converter Windows & Linux จาก PC หรือ Server ขึ้น Vmware Esx
โดยใช้ VMware vCenter Converter Standalone -> Windows
1. ถ้าเป็น Windows ให้ทำการติดตั้งโปรแกรม VMware vCenter Converter Standalone บน Windows Server นั้นเลย
2. ถ้าเป็น Windows Server 2008 หรือ สูงกว่านั้น ให้ คลิกขวา แล้ว Run Administrator
3. ให้ทำการคลิก Convert machine ตามภาพ
4. ให้ทำการเลือก This local machine และ Powered-on machine ตามภาพ แล้วกด next >
5. ให้ทำการเลือก VMware Esx ที่ต้องการจะ Convert ขึ้น มีให้เลือกทั้งหมด 2 แบบ คือ
5.1 VMware Infrastucture virtual machine จะเป็นการเลือก VMware Esx โดยใส่ IP ของ VMware Esx และใส่ User Pass และกด Next
5.2 VMware Workstation or other VMware virtual machine จะเป็นการ Convert ขึ้นบน workstation
(ในกรณีนี้ของไม่พูดถึงนะครับ)
6. ต่อมาก็จะเป็นการตั้งชื่อ ของ Server ที่เราจะทำการ Convert ขึ้นไปบน VMware esx พอตั้งชื่อเสร็จก็กด Next
7. ต่อมาก็จะเป็นการเลือก Datastore ที่จะเก็บไฟล์ข้อมูลที่เราจะ Convert ขึ้นไป รวมถึงเลือก
Virtual machine version โดยถ้าเป็น
ESX 4 = Virtual machine version 7 และ ESX 5 = Virtual machine version 8
อันนี้แนะนำให้เลือกตัวใหม่คือ version 8 เมื่อทำการเลือกแล้วให้กด next
8. จะเป็นการตรวจเช็คว่า ถูกต้องหรือไม่ ถ้าไม่สามารถทำการได้จะมี error บอกเป็นกากบาทสีแดงบอก ไว้ว่าไม่สามารถทำการได้ เช่น Harddisk ไม่พอในการ Convert
9. ถ้าตรวจสอบแล้วไม่พบปัญหาอะไร สามารถกด Next จากขั้นตอนที่ 8 และ กด Finish เพื่อที่จะ ทำการ Convert ได้เลย...หลังจากนั้น รอ ครับ
*** Windows ถ้า Convert ไม่ได้ลอง ปิด Service ที่เปิดอยู่ก่อน และลอง Convert ใหม่อีกทีครับ
โดยใช้ VMware vCenter Converter Standalone -> Linux
ก็จะทำ คล้ายๆ Windows เลยแต่ไม่จำเป็นต้องไปลงเครื่องที่เป็น linux เอง และไม่ต้องทำการ Run Administrator ด้วย แต่ว่าจะแตกต่างที่ขั้นตอนที่ 8 ตามภาพ
จากภาพจะให้ทำการเลือก Helper VM network
และทำการ Edit และเลือกที่จะ Set IP ให้กับ Linux ที่กำลังจะ Convert ขึ้นครับ แต่พอ Convert ขึ้นแล้ว
IP ที่ Set จากจุดนี้จะไม่ตามไปนะครับ (อันนี้ถ้าไม่ Set ตามก็ได้นะครับ แต่ผมเอาไว้แก้ปัญหา Convert ไม่ได้ของ Linux ครับ)
โดยใช้ VMware vCenter Converter Standalone -> Windows
1. ถ้าเป็น Windows ให้ทำการติดตั้งโปรแกรม VMware vCenter Converter Standalone บน Windows Server นั้นเลย
2. ถ้าเป็น Windows Server 2008 หรือ สูงกว่านั้น ให้ คลิกขวา แล้ว Run Administrator
3. ให้ทำการคลิก Convert machine ตามภาพ
4. ให้ทำการเลือก This local machine และ Powered-on machine ตามภาพ แล้วกด next >
5. ให้ทำการเลือก VMware Esx ที่ต้องการจะ Convert ขึ้น มีให้เลือกทั้งหมด 2 แบบ คือ
5.1 VMware Infrastucture virtual machine จะเป็นการเลือก VMware Esx โดยใส่ IP ของ VMware Esx และใส่ User Pass และกด Next
5.2 VMware Workstation or other VMware virtual machine จะเป็นการ Convert ขึ้นบน workstation
(ในกรณีนี้ของไม่พูดถึงนะครับ)
6. ต่อมาก็จะเป็นการตั้งชื่อ ของ Server ที่เราจะทำการ Convert ขึ้นไปบน VMware esx พอตั้งชื่อเสร็จก็กด Next
7. ต่อมาก็จะเป็นการเลือก Datastore ที่จะเก็บไฟล์ข้อมูลที่เราจะ Convert ขึ้นไป รวมถึงเลือก
Virtual machine version โดยถ้าเป็น
ESX 4 = Virtual machine version 7 และ ESX 5 = Virtual machine version 8
อันนี้แนะนำให้เลือกตัวใหม่คือ version 8 เมื่อทำการเลือกแล้วให้กด next
8. จะเป็นการตรวจเช็คว่า ถูกต้องหรือไม่ ถ้าไม่สามารถทำการได้จะมี error บอกเป็นกากบาทสีแดงบอก ไว้ว่าไม่สามารถทำการได้ เช่น Harddisk ไม่พอในการ Convert
9. ถ้าตรวจสอบแล้วไม่พบปัญหาอะไร สามารถกด Next จากขั้นตอนที่ 8 และ กด Finish เพื่อที่จะ ทำการ Convert ได้เลย...หลังจากนั้น รอ ครับ
*** Windows ถ้า Convert ไม่ได้ลอง ปิด Service ที่เปิดอยู่ก่อน และลอง Convert ใหม่อีกทีครับ
โดยใช้ VMware vCenter Converter Standalone -> Linux
ก็จะทำ คล้ายๆ Windows เลยแต่ไม่จำเป็นต้องไปลงเครื่องที่เป็น linux เอง และไม่ต้องทำการ Run Administrator ด้วย แต่ว่าจะแตกต่างที่ขั้นตอนที่ 8 ตามภาพ
จากภาพจะให้ทำการเลือก Helper VM network
และทำการ Edit และเลือกที่จะ Set IP ให้กับ Linux ที่กำลังจะ Convert ขึ้นครับ แต่พอ Convert ขึ้นแล้ว
IP ที่ Set จากจุดนี้จะไม่ตามไปนะครับ (อันนี้ถ้าไม่ Set ตามก็ได้นะครับ แต่ผมเอาไว้แก้ปัญหา Convert ไม่ได้ของ Linux ครับ)
วันอาทิตย์ที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556
Nic Teaming
หลายๆคน คงเข้าใจว่าในการทำ Nic Teaming นั้นจะช่วยทำให้ การรับส่งข้อมูลไวขึ้น
แต่ในเชิงทฤษฎีและมุมมอง ผมว่ามันก็มีส่วนที่จะใช่ แต่ในทางปฎิบัติ มันไม่ใช่นะครับ
Nic Teaming เป็นการทำให้ สามารถใช้ interface lan มารวมตัวกันและ บังคับให้มองเป็น lan 1 อันจากทั้งหมด หรือเรียกว่าการทำ virtual lan คือจำลองให้มองเห็น Lan 1 อันจากทั้งหมด ไม่ว่าจะ 2 3 4 ก็สามารถมองเห็นเป็นแค่ Lan 1 อันในการใช้งานออก internet ซึ่งหลักในการนำมาใช้ Nic Teaming
จะช่วยในการรับส่งข้อมูล ถ้ามีจำนวนผู้ใช้งานที่มากขึ้น รวมถึงถ้าเกิด interface ของ lan หรือไม่ว่าจะเป็นสาย lan ที่ต่ออยู่ มีปัญหา ก็ยังสามารถใช้งานได้อยู่
พูดง่ายๆคือการทำ Nic Teaming ก็เสมือนกับการขยายช่องทางเดินรถ แต่มันไม่ได้ทำให้ช่องทางเดินรถดีขึ้นจากเดิม
แต่ในเชิงทฤษฎีและมุมมอง ผมว่ามันก็มีส่วนที่จะใช่ แต่ในทางปฎิบัติ มันไม่ใช่นะครับ
Nic Teaming เป็นการทำให้ สามารถใช้ interface lan มารวมตัวกันและ บังคับให้มองเป็น lan 1 อันจากทั้งหมด หรือเรียกว่าการทำ virtual lan คือจำลองให้มองเห็น Lan 1 อันจากทั้งหมด ไม่ว่าจะ 2 3 4 ก็สามารถมองเห็นเป็นแค่ Lan 1 อันในการใช้งานออก internet ซึ่งหลักในการนำมาใช้ Nic Teaming
จะช่วยในการรับส่งข้อมูล ถ้ามีจำนวนผู้ใช้งานที่มากขึ้น รวมถึงถ้าเกิด interface ของ lan หรือไม่ว่าจะเป็นสาย lan ที่ต่ออยู่ มีปัญหา ก็ยังสามารถใช้งานได้อยู่
พูดง่ายๆคือการทำ Nic Teaming ก็เสมือนกับการขยายช่องทางเดินรถ แต่มันไม่ได้ทำให้ช่องทางเดินรถดีขึ้นจากเดิม
วิธีแก้ไขปัญหาMysqlพิมภาษาไทยแล้วมีปัญหา(CentOS)
ให้ทำการเข้าไปแก้ไขที่ไฟล์
vi /etc/my.cnf
[mysqld]
collation-server = utf8_unicode_ci
init-connect = 'SET NAMES utf8'
character-set-server = utf8
vi /etc/my.cnf
[mysqld]
collation-server = utf8_unicode_ci
init-connect = 'SET NAMES utf8'
character-set-server = utf8
IM Server Install
ขอเกริ่นหน่อยละกันนะครับก่อนที่จะมาบอกขั้นตอน และวิธีในการทำ IM Server
IM -> Instant messaging ก็อย่างที่ทุกๆท่าน เคยใช้งานและคุ้นเคยก็คงจะเป็น MSN, Google Talk, ... แต่ถ้าจะนำมาใช้งานกับภายในองค์กรณ์ หรือนำมาใช้งานกันเอง... แล้วละก็ ก็คงอยากจะทำเป็น Server ของตัวเองใช่ไม
มาเริ่มกันเลยดีกว่าสำหรับขั้นตอนการทำ IM Server IM -> Instant messaging อันนี้ OS ที่ใช้เป็น CentOS 6.4 Software ที่ใช้เป็น Openfire V.3.8.2
Configure eth0 # # vi /etc/sysconfig/network-scripts/ifcfg-eth0
DEVICE="eth0"
ONBOOT=yes
BOOTPROTO=static
NAME="System eth0"
IPADDR=192.168.50.200 ...สามารถตั้งได้เองเลยครับ อันนี้ผมเพียงแค่ยกตัวอย่าง IP
NETMASK=255.255.255.0
Configure Default Gateway # #
vi /etc/sysconfig/network
NETWORKING=yes
HOSTNAME=centos6
GATEWAY=192.168.50.254
## Restart Network Interface #
service network restart
## Configure DNS Server # #
vi /etc/resolv.conf
nameserver 192.168.50.2 # Replace with your nameserver ip
nameserver 192.168.50.3 # Replace with your nameserver ip
yum -y install wget java glibc.i686
wget http://download.igniterealtime.org/openfire/openfire-3.8.2-1.i386.rpm
yum -y install ./openfire-3.8.2-1.i386.rpm
service openfire start
chkconfig --level 235 openfire on
yum -y install mysql-server
service mysqld start
chkconfig mysqld on
/usr/bin/mysql_secure_installation
hit “enter” to give no password generate and save a new root password
service mysqld restart
/usr/bin/mysql -u root -p
CREATE DATABASE openfire;
INSERT INTO mysql.user (User,Host,Password)
VALUES(‘username’,’127.0.0.1?,PASSWORD(‘securepassword’));
FLUSH PRIVILEGES;
GRANT ALL PRIVILEGES ON openfire.* to openfire@127.0.0.1;
FLUSH PRIVILEGES;
exit
service iptables stop
chkconfig iptables stop
http://192.168.50.200:9090
Login : Default จะเป็น User:admin Pass:admin
IM -> Instant messaging ก็อย่างที่ทุกๆท่าน เคยใช้งานและคุ้นเคยก็คงจะเป็น MSN, Google Talk, ... แต่ถ้าจะนำมาใช้งานกับภายในองค์กรณ์ หรือนำมาใช้งานกันเอง... แล้วละก็ ก็คงอยากจะทำเป็น Server ของตัวเองใช่ไม
มาเริ่มกันเลยดีกว่าสำหรับขั้นตอนการทำ IM Server IM -> Instant messaging อันนี้ OS ที่ใช้เป็น CentOS 6.4 Software ที่ใช้เป็น Openfire V.3.8.2
Configure eth0 # # vi /etc/sysconfig/network-scripts/ifcfg-eth0
DEVICE="eth0"
ONBOOT=yes
BOOTPROTO=static
NAME="System eth0"
IPADDR=192.168.50.200 ...สามารถตั้งได้เองเลยครับ อันนี้ผมเพียงแค่ยกตัวอย่าง IP
NETMASK=255.255.255.0
Configure Default Gateway # #
vi /etc/sysconfig/network
NETWORKING=yes
HOSTNAME=centos6
GATEWAY=192.168.50.254
## Restart Network Interface #
service network restart
## Configure DNS Server # #
vi /etc/resolv.conf
nameserver 192.168.50.2 # Replace with your nameserver ip
nameserver 192.168.50.3 # Replace with your nameserver ip
yum -y install wget java glibc.i686
wget http://download.igniterealtime.org/openfire/openfire-3.8.2-1.i386.rpm
yum -y install ./openfire-3.8.2-1.i386.rpm
service openfire start
chkconfig --level 235 openfire on
yum -y install mysql-server
service mysqld start
chkconfig mysqld on
/usr/bin/mysql_secure_installation
hit “enter” to give no password generate and save a new root password
service mysqld restart
/usr/bin/mysql -u root -p
CREATE DATABASE openfire;
INSERT INTO mysql.user (User,Host,Password)
VALUES(‘username’,’127.0.0.1?,PASSWORD(‘securepassword’));
FLUSH PRIVILEGES;
GRANT ALL PRIVILEGES ON openfire.* to openfire@127.0.0.1;
FLUSH PRIVILEGES;
exit
service iptables stop
chkconfig iptables stop
http://192.168.50.200:9090
Login : Default จะเป็น User:admin Pass:admin
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)